วันพฤหัสบดีที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2554

การบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันนี้อาจารย์ได้เลื่อนเวลามาเรียนเป็นเวลา 14.00 น. อาจารย์เริ่มทบทวนเนื้อหาความรู้ทางคณิตศาสตร์จากคาบที่เเล้วเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาได้คิด ทบทวน
เเล้วอาจารย์ก็ถามคำถามว่า คณิตศาสตร์ของอนุบาลเหมือนกับประถมศึกษาตรงไหน
-การใช้ตัวเลข
-การใช้ในชีวิตประจำวัน
การนำเเนวคิด ทฤษฎีของนักการศึกษา นักจิตวิทยา
1.กีเซล
2.ฟรอย์
3.อิรินสัน
4.เพียเจย์
5.ดิ้วอี้
6.สกินเนอร์
7.เฟรอเบล
8.เดวิล เฮอคายล์
9.มอนเตสซอรี่
10.เเม็กซิม
11.ไฮสโคป
12.เรอลิโอ
หลักการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
-การนับตัวเลข
-การรู้จักตัวเลข
-การชั่งตวงวัด
-รูปร่างรูปทรง
-พื้นที่ ทิศทาง
-การเพิ่มเเละลดจำนวน
-รู้จักความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนเเละตัวเลข
-การจัดหมวดหมู่
-การจำเเนกประเภท
-การเปรียบเทียบ
-การเรียงลำดับ
-เวลา
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์
1.การนับ
2.ตัวเลข
3.จับคู่
4.การจัดประเภท
5.การจัดลำดับ
6.รูปทรงเเละพื่นที่
7.การวัด
8.การเปรีบยเทียบ
9.เซท
10.เศษส่วน
11.การทำตามเเบบเเละลวดลาย
12.การอนุรักษ์
เเล้วอาจารย์ให้นักศึกษาไปจัดทำหน่วยการเรียนที่สนใจเป็นกลุ่ม เเล้วทำมาส่งวันถัดไปก่อนเวลา 12.00 น.ที่ห้องอาจารยื
วันนี้การเรียนการสอนสนุกสนานดี เพื่อนๆต่างช่วยกันตอบ บรรยายกาสเย็นสบายดีเหมาะกับการเรียนรุ้มาก

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

การบันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันนี้เป็นคาบเเรกที่อาจารย์ได้สอนเรื่องการจัดประสบการณ์ททางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ขั้นเเรกอาจารย์ก็ถามก่อนเลยว่า
คณิตศาสตร์เกี่ยวกับอะไรบ้าง
-เวลา
-ตัวเลข
-นาฬิกา
-ปฎิทิน
-สัญลักษณ์ เเละอีกมากมาย
ความสำคัญของคณิตศาสตร์
-เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
-ใช้เเก้ปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวัน
-เป็นเคื่องมือในการเรียนรู้
-เป็นภาษาสำคัญในการเรียนรู้
คณิตศาสตร์เกี่ยวกับพัฒนาการด้านสติปัญญา ด้านการคิดเเละการตอบ ทำให้เกิดการเรียนรู้มีพัฒนาการต้องก้าวหน้า
พัฒนาการด้านสติปัญญา คือ การเจริญเติบโตเเล้วมีการเปลี่ยนเเปลงไปตามขั้นลำดับ ไปตามช่วงอายุของเด็กเเต่ละวัย เเละสมอง
เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้เกิดพัฒนาการด้านสติปัญญา โดยการใช้ประสาทสัมผัสการเรียนรู้ เเล้วปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นการเรียนรู้ไม่สิ้นสุด โดยการใช้ภาษาทำให้เด็กมีเหตุผลมากขึ้น
-การอนุรักษ์ คือ การเห็นสิ่งของที่ต่างกันเกิดการเปลี่ยนเเปลง เเต่ยังมีปริมาณเท่าเดิม
-การทำงานของสมอง คือ การซึมซับเเละการปรับเปลี่ยน
ในการสอนคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยต้องเป็นรูปธรรมเเละยังเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่ดีอีกด้วย